The Basic Principles Of เศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง
The Basic Principles Of เศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง
Blog Article
ดนุชา กล่าวเตือนอีกว่า “ในช่วงถัดไปสถานการณ์จึงอาจมีความผันผวนมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องของการค้า การลงทุน และอัตราแลกเปลี่ยน แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในช่วงต่อไปจึงอาจชะลอตัวลง
) จะทำให้หนี้ใหม่โตช้าลง และหนี้เก่าลดลงเร็วขึ้นกว่าเดิม
ตรงนี้เลยกลับมาที่ประเด็นเชิงนโยบายว่าต้องทำให้การลงทุนในไทยสดใสขึ้น โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมใหม่ เพื่อจะทำให้ภาพการลงทุนโดยรวมของเอกชนดีกว่าที่เป็นมา
อีกประเด็นที่น่ากังวลคือภูมิรัฐศาสตร์ที่ผันผวนมาหลายปี และมีอะไรเซอร์ไพร์สเรามากขึ้นเรื่อยๆ ตอนนี้สิ่งที่ผมกลัวที่สุดคือโดนัลด์ ทรัมป์ ชนะการเลือกตั้ง ซึ่งมีโอกาสสูงมาก ถ้าเป็นเช่นนี้จะเกิดผลกระทบหลายอย่าง เช่น สงครามการค้ากับจีน ทำให้แต่ละฝ่ายงัดนโยบายอุตสาหกรรมซึ่งคล้ายจะเป็นนโยบายกีดกันทางการค้า ทำให้ภาคการค้าโลกยุบตัวลง กระทบเราแน่นอน เรื่องยูเครนหรือตะวันออกกลาง หรือจีนกับไต้หวัน ก็ยังเป็นปัญหาอยู่เช่นกัน
ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้งานอยู่แล้วได้เลย
ธนาคารขอแนะนำให้คุณศึกษานโยบายความเป็นส่วนตัวและรายละเอียด
ต้องอัดฉีดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสิ่งที่ฝ่ายการเมืองหวังว่าจะทำให้เศรษฐกิจคล่องขึ้นและดีขึ้น เป็นเครดิตของรัฐบาลว่าทำให้เศรษฐกิจโตได้ และจะเป็นผลดีกับการเลือกตั้งครั้งหน้า
“เรื่องต้นทุนที่เพิ่มขึ้นมาสูงในตอนนี้ โดยเฉพาะดอกเบี้ย ที่ถือเป็นต้นทุนหลักของธุรกิจ แต่โรงแรมเปรียบเหมือนสินค้าเน่า หากไม่ได้เปิดขายในวันนี้ ก็เก็บไปขายวันต่อไป ไม่ได้ เพราะเราขายห้องพักหรืออาหารในโรงแรมแบบวันต่อวัน แต่ดอกเบี้ยวิ่งตลอดเวลา แม้ไม่มีรายได้ เข้ามา ซึ่งดอกเบี้ยที่อยู่ระดับสูงถือเป็นภาระต้นทุน เราเข้าใจที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.
ถ้าวันนี้อยากปฏิรูปเศรษฐกิจระยะยาว มีอะไรที่เรายังทำได้อยู่อีกไหม
สิ่งที่ควรทบทวนคือรัฐบาลจะตั้งเป้าเพิ่มงบลงทุนอย่างไร จะชักจูงให้เกิดบรรยากาศการลงทุนอย่างไร เพราะการมีนโยบายเอื้อให้เกิดการลงทุนในเรื่องใหม่ๆ อาจจะได้ประโยชน์มากกว่ากันเยอะ ผมว่าตรงนี้รัฐบาลต้องมองให้ขาดและทำให้ขาดด้วย เพราะถ้าเราจะหวังพึ่งจากดิจิทัลวอลเล็ตอาจไม่ได้คุ้มทุนขนาดนั้น more here และยังต้องระวังเรื่องการขายลดคูปองอีก (นำคูปองไปขายลดราคาจากมูลค่าเพื่อแลกเป็นเงินสด) อันนี้ก็เป็นประเด็นที่พูดกันนานแล้ว แต่ผมว่ารัฐบาลก็ยังไม่มีคำตอบ
ส่งคำเตือนดังๆ ถึง ประชาชน ภาคธุรกิจ และรัฐบาล
การจะบอกว่าไม่สอดคล้องกันต้องดูให้ดี เพราะหลายครั้งที่การคาดการณ์ต่างๆ เป็นการดูคนละช่วงเวลาแล้วมาเปรียบเทียบกัน ซึ่งมันไม่ใช่ มันต้องดูช่วงเวลาใกล้เคียงกันแล้วเราจะเห็นว่า จริงๆ แต่ละสำนักมีความเห็นคล้ายกัน
เต็มที่กับบทความและสื่อสร้างสรรค์ที่จัดมาให้แบบรู้ใจที่สุด
เรื่องที่สองคือการปรับโครงสร้าง ที่แม้จะเห็นผลช้า แต่ต้องยิ่งทำให้เร็ว ผมว่าเราต้องปรับโครงสร้างหลายเรื่อง อย่างเรื่องที่ว่าเราไม่ได้ลงทุนและไม่มีอุตสาหกรรมเพราะต้องใช้เทคโนโลยีสูง คำถามคือเรามีเทคโนโลยีนั้นไหม ถ้าไม่มีเรานำเข้าได้ไหม ที่สำคัญกว่านั้นคือเรามีทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะทำงานควบคู่กับเทคโนโลยีใหม่นั้นได้หรือไม่